ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดสกลนคร) รายงานผลการปฎิบัติงานประจำวันที่ 17 สิงหาคม พ.ศ.2564

ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดสกลนคร) รายงานผลการปฎิบัติงานประจำวันที่ 17 สิงหาคม พ.ศ.2564

  1. นายอำเภอกุดบาก พร้อมด้วยเจ้าหน้าฝ่ายปกครอง เข้าตรวจเยี่ยมและให้กำลังใจ การปฏิบัติ​งานของเจ้าหน้าที่ศูนย์​ขับเคลื่อน​และ​เรียนรู้​การ​เปลี่ยน​แปลง​สภาพ​ภูมิอากาศ​ภาค​ป่าไม้​ฯ
  2. พัฒนาศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ฯ และดูแลบำรุงรักษากล้าไม้ในเรือนเพาะชำเพื่อเตรียมความพร้อมในการนำไปปลูกเสริมป่า
  3. จัดเตรียมแท็กหมายเลขสำหรับติดต้นไม้แปลงปลูก ในพื้นที่ทำกินตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2541
  4. วัดความโต ความสูง และจับพิกัดต้นไม้ที่ทำการปลูกในพื้นที่ ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2541 รายนางอริษสา บุญยิ่ง จำนวน 1 แปลง

นางสาวอรฤดี มณีทอง นักวิชาการป่าไม้ชำนาญการ รายงาน

ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดสกลนคร) รายงานผลการปฎิบัติงานประจำวันที่ 16 สิงหาคม พ.ศ.2564

ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดสกลนคร) รายงานผลการปฎิบัติงานประจำวันที่ 16 สิงหาคม พ.ศ.2564

  1. เจ้าหน้าที่เข้าแถวเคารพธงชาติ สวดมนต์ไหว้พระ
  2. พัฒนาศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ฯ และดูแลบำรุงรักษากล้าไม้ในเรือนเพาะชำเพื่อเตรียมความพร้อมในการนำไปปลูกเสริมป่า
  3. จัดเตรียมแท็กหมายเลขสำหรับติดต้นไม้แปลงปลูก ในพื้นที่ทำกินตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2541
  4. วัดความโต ความสูง และจับพิกัดต้นไม้ที่ทำการปลูกในพื้นที่ ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2541 รายนางอริษสา บุญยิ่ง จำนวน 1 แปลง

นางสาวอรฤดี มณีทอง นักวิชาการป่าไม้ชำนาญการ รายงาน

ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดแพร่) กลุ่มงานวิชาการ สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 13 (แพร่) รายงานผลการปฎิบัติงานประจำวันที่ 16-17 สิงหาคม พ.ศ.2564

ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดแพร่) กลุ่มงานวิชาการ สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 13 (แพร่) รายงานผลการปฎิบัติงานประจำวันที่ 16-17 สิงหาคม พ.ศ.2564

  1. แจกจ่ายกล้าไม้ให้แก่ชุมชนเครือข่ายเรดด์พลัส
  2. ดูแลรักษาศูนย์ขับเคลื่อนฯ โดยการตัดหญ้า ตกแต่งสถานที่ และดูแลพืชผักสวนครัว
  3. ดูแลแปลงเพาะสักโดยการถอนวัชพืช

นายมงคล ทิพย์โพธิ์
หัวหน้าศูนย์ขับเคลื่อนฯ
รายงาน

𝐂𝐎𝐏𝟐𝟔: 𝐖𝐡𝐚𝐭 𝐢𝐬 𝐭𝐡𝐞 𝐔𝐍 𝐜𝐥𝐢𝐦𝐚𝐭𝐞 𝐜𝐨𝐧𝐟𝐞𝐫𝐞𝐧𝐜𝐞 𝐢𝐧 𝐆𝐥𝐚𝐬𝐠𝐨𝐰 𝐚𝐧𝐝 𝐰𝐡𝐲 𝐢𝐬 𝐢𝐭 𝐬𝐨 𝐢𝐦𝐩𝐨𝐫𝐭𝐚𝐧𝐭?

ผู้นำจาก 196 ประเทศจะเข้าร่วมการประชุมด้านภูมิอากาศที่ Glasgow ในเดือนพฤศจิกายนนี้

ในการประชุมจะนำไปสู่ความตกลงเพื่อนำไปสู่การปฏิบัติ สำหรับต่อต้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และผลกระทบที่ตามมา เช่น การเพิ่มขึ้นของระดับน้ำทะเล และสภาพอากาศรุนแรง

  รายงานจากนักวิทยาศาสตร์ เตือนถึงอุณหภูมิโลก นับตั้งแต่ปี 1970 ที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว กว่าครั้งใดๆ ในช่วงเวลา 2,000 ปีที่ผ่านมา

𝐖𝐡𝐚𝐭 𝐢𝐬 𝐭𝐡𝐞 𝐜𝐥𝐢𝐦𝐚𝐭𝐞 𝐜𝐨𝐧𝐟𝐞𝐫𝐞𝐧𝐜𝐞?
การประชุมนี้ จัดขึ้นโดยองค์การสหประชาชาติ โดยเรียกว่า 𝐂𝐎𝐏𝟐𝟔 (COP เป็นอักษรย่อของคำว่า Conference of the Parties) เป็นความพยายามที่จะทำให้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศกลับสู่การควบคุม ซึ่งเป็นห้วงเวลาที่ผู้นำจากประเทศต่างๆ จะมีส่วนร่วมในการถกในประเด็นการปฏิบัติที่เพียงพอหรือไม่ สำหรับการบรรลุเป้าหมายตามความตกลงปารีส ซึ่งเป็นความตกลงที่สำคัญที่ทั่วโลกต่างให้คำมั่นต่อการต่อต้านภาวะโลกร้อน

จากความตกลงที่พยายามหยุดยั้งการเพิ่มขึ้นของอถณหภูมิไว้ที่ “𝒘𝒆𝒍𝒍 𝒃𝒆𝒍𝒐𝒘” 𝟐𝑪 (𝟑.𝟔𝑭) และมีความพยายามที่จะจำกัดการเพิ่มขึ้นไว้ที่ 1.5C แต่เหล่านักวิทยาศาตร์ได้ออกมาเตือนว่า จากความพยายามที่มียังน้อยกว่าระดับที่ควรจะเป็นและหากการปฏบัติยังอยู่ที่ระดับนี้ ภาวะโลกร้อนจะขึ้นแตะระดับ 3C

𝐖𝐡𝐚𝐭 𝐚𝐜𝐭𝐢𝐨𝐧 𝐧𝐞𝐞𝐝𝐬 𝐭𝐨 𝐛𝐞 𝐚𝐠𝐫𝐞𝐞𝐝 𝐚𝐭 𝐂𝐎𝐏𝟐𝟔?
แต่ละประเทศจะถูกร้องขอถึง “𝒂𝒎𝒃𝒊𝒕𝒊𝒐𝒖𝒔” ของเป้าหมายการลดก๊าซเรือนกระจกภายในปี 2030 และยังจะถูกร้องขอถึงหนทางการบรรลุสู่เป้าหมาย “𝒏𝒆𝒕 𝒛𝒆𝒓𝒐” ซึ่งเป็นภาวะที่ไม่เพิ่มก๊าซเรือนกระจกขึ้นสู่บรรยากาศมากไปกว่าการกำจัด ภายในปี 2050

การเผาไหม้เชื้อเพลิงเป็นสาเหตุหลักของการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ดังนั้น หนทางเพื่อก้าวสู่เป้าหมาย จะประกอบด้วย
  หยุดการพึ่งพาพลังงานจากถ่านหิน
หยุดการทำลายป่าไม้
เปลี่ยนไปใช้รถยนต์ไฟฟ้า
ลงทุนในพลังงานหมุนเวีย

𝐖𝐡𝐚𝐭 𝐝𝐨 𝐭𝐡𝐞 𝐰𝐨𝐫𝐥𝐝’𝐬 𝐩𝐨𝐨𝐫𝐞𝐫 𝐜𝐨𝐮𝐧𝐭𝐫𝐢𝐞𝐬 𝐰𝐚𝐧𝐭?
ผู้คนในประเทศยากจน ถือเป็นด่านหน้าของผลกระทบจากภาวะโลกร้อน ไม่เพียงแต่ความแห้งแล้งและคลื่นความร้อน แต่การเพิ่มขึ้นของระดับน้ำทะเลจะค่อยๆ กลืนประเทศหมู่เกาะ และการรุกล้ำของน้ำเค็มยังทำลายพื้นที่เพาะปลูก โดยการถึงการประชุม COP26 ประเทศกำลังพัฒนากว่า 100 ประเทศได้กำหนดแสดงจุดยืนของความต้องการความช่วยเหลือ เช่น
เงินทุนสำหรับการต่อสู้และปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
การเยียวยาต่อผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับพวกเขา

เงินทุนสำหรับการเปลี่ยนผ่านสู่โครงสร้างเศรษฐกิจที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
ซึ่งกลุ่มประเทศเหล่านี้ต้องการความชัดเจนสำหรับประเด็นนี้ ไม่เช่นนั้นแล้ว การประชุม COP26 อาจไร้ค่าและจบลงด้วยความล้มเหลว

𝐖𝐡𝐚𝐭 𝐡𝐚𝐯𝐞 𝐫𝐢𝐜𝐡𝐞𝐫 𝐜𝐨𝐮𝐧𝐭𝐫𝐢𝐞𝐬 𝐩𝐫𝐨𝐦𝐢𝐬𝐞𝐝?
สำหรับประเทศที่ร่ำรวยได้ให้คำมั่นที่จะสนับสนุนทุน สูงถึง 1 แสนล้าน USD ภายในปี 2020 เพื่อช่วยเหลือประเทศยากจน แต่อย่างไรก็ตาม จากข้อมูลล่าสุดเพิ่งมีการสนับสนุนเงินทุนไปเพียงราว 79,000 ล้าน USD

ในปี 2018 เงินทุนราว 3 ใน 4 ส่วนเป็นการสนับสนุนในรูปแบบการให้กู้ยืม ซึ่งเงินทุนเพื่อการกู้ยืมนี้เป็นอุปสรรคต่อประเทศยากจน ซึ่งหลายประเทศมีภาวะเป็นหนี้อยู่แล้ว ประเด็นนี้ เรียกว่า “𝒄𝒍𝒊𝒎𝒂𝒕𝒆 𝒇𝒊𝒏𝒂𝒏𝒄𝒆” ซึ่งเป็นประเด็นใหญ่ที่จะต้องถกกันในการประชุมครั้งนี้

𝐖𝐡𝐚𝐭 𝐰𝐨𝐮𝐥𝐝 𝐬𝐮𝐜𝐜𝐞𝐬𝐬 𝐚𝐭 𝐂𝐎𝐏𝟐𝟔 𝐥𝐨𝐨𝐤 𝐥𝐢𝐤𝐞?
มีความคาดหวังอย่างมากถึงความก้าวหน้าอย่างมีนัยสำคัญสำหรับการต่อต้านการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิจากผลของการประชุม COP26 ประเทศร่ำรวยจะถูกร้องขอการให้คำมั่นสำหรับการสนับสนุนเงินทุน 1 แสนล้าน USD จากที่เคยได้ให้คำมั่นไว้ก่อนหน้านี้ และความตกลงสำหรับทุกประเทศในโลกสำหรับการลดการพึ่งพาพลังงานถ่านหิน ถึงแม้ว่าจะเป็นเรื่องยากก็ตาม

นอกจากนี้ยังจะมีการเพิ่มแรงกดดันสำหรับทุกๆ ประเทศ ที่จะต้องเพิ่มความทะเยอทะยานของเป้าหมายที่ไม่เพียงแต่การลดก๊าซเรือนกระจก แต่ยังครอบคลุมถึงการให้ความช่วยเหลือต่อประชาคมและประเทศอื่นๆ ที่ได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ที่มา: https://bbc.in/3g0ypwz 

ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดเชียงใหม่) รายงานผลการปฏิบัติงานวันที่ 13 สิงหาคม พ.ศ.2564

รายงานผลการปฏิบัติงานวันที่ 13 สิงหาคม พ.ศ.2564
ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดเชียงใหม่)

นายจักรกฤษณ์ หล้าแก้ว
หัวหน้าศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้ฯ รายงาน

รายงานผลการปฏิบัติงานวันที่12สิงหาคม 2564 ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ระดับพื้นที่ (จังหวัดแพร่) รายงานผลการปฏิบัติงานวันที่ 12 สิงหาคม 2564

รายงานผลการปฏิบัติงานวันที่ 12 สิงหาคม 2564 รายงานผลการปฏิบัติงานวันที่12สิงหาคม 2564 ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ระดับพื้นที่ (จังหวัดแพร่) กลุ่มงานวิชาการ สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 13 (แพร่)
1.ร่วมกับชุมชนในพื้นที่ปลูกป่าในวันแม่แห่งชาติ ณโครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูแหล่งน้ำห้วยริน หมู่1ต.สะเอียบ อ.สอง จ.แพร่
2.ถอนวัชพืชแปลงเพาะเมล็ดสัก ในพื้นที่ศูนย์ขับเคลื่อนฯนายมงคล ทิพย์โพธิ์
หัวหน้าศูนย์ขับเคลื่อนฯ
รายงาน

ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดเชียงใหม่) รายงานผลการปฏิบัติงานประจำวันที่ 11 สิงหาคม พ.ศ.2564

รายงานผลการปฏิบัติงานประจำวันที่ 11 สิงหาคม พ.ศ.2564
ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดเชียงใหม่)
– สนับสนุนกล้าไม้ให้แก่ราษฎรในพื้นที่อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ ต.บ้านหลวง อ.จอมทอง จ.เชียงใหม่ ได้แก่ มะไฟ‚ลูกพลับ ‚ต้นสัก‚มะขามป้อม‚ผักหวานบ้าน และกาแฟ
– ร่วมกับเครือข่ายฯบ้านเมืองอางพัฒนาทางเข้าหมู่บ้าน และบำรุงรักษาต้นไม้ที่ปลูกริมถนนทางเข้าหมู่บ้านเมืองอาง ม.9 ต.บ้านหลวง อ.จอมทอง จ.เชียงใหม่

นายจักรกฤษณ์ หล้าแก้ว
หัวหน้าศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้ฯ รายงาน

ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดสกลนคร) รายงานผลการปฎิบัติงานประจำวันที่ 11 สิงหาคม พ.ศ.2564

ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดสกลนคร) รายงานผลการปฎิบัติงานประจำวันที่ 11 สิงหาคม พ.ศ.2564

นางสาวอรฤดี มณีทอง นักวิชาการป่าไม้ชำนาญการ รายงาน

ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดสกลนคร) รายงานผลการปฎิบัติงานประจำวันที่ 10 สิงหาคม พ.ศ.2564

ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดสกลนคร) รายงานผลการปฎิบัติงานประจำวันที่ 10 สิงหาคม พ.ศ.2564

นางสาวอรฤดี มณีทอง นักวิชาการป่าไม้ชำนาญการ รายงาน

ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดเชียงใหม่) รายงานผลการปฏิบัติงานประจำวันที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2564

ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดเชียงใหม่) รายงานผลการปฏิบัติงานประจำวันที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2564

นายจักรกฤษณ์ หล้าแก้ว

ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ระดับพื้นที่ (จังหวัดแพร่) รายงานผลการปฏิบัติงานประจำ วันที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2564

รายงานผลการปฏิบัติงานประจำ วันที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2564
ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ระดับพื้นที่ (จังหวัดแพร่) กลุ่มงานวิชาการ สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 13 (แพร่)

  1. แผ้วถางวัชพืชในพื้นที่ศูนย์ขับเคลื่อนฯ
  2. ถอนวัชพืชแปลงเพาะเมล็ดสัก

นายมงคล ทิพย์โพธิ์
หัวหน้าศูนย์ขับเคลื่อนฯ/รายงาน

ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดสกลนคร) รายงานผลการปฎิบัติงานประจำวันที่ 9 สิงหาคม พ.ศ.2564

ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดสกลนคร) รายงานผลการปฎิบัติงานประจำวันที่ 9 สิงหาคม พ.ศ.2564

เจ้าหน้าที่เข้าแถวเคารพธงชาติ สวดมนต์ไหว้พระ

  1. พัฒนาศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ฯ และดูแลบำรุงรักษากล้าไม้ในเรือนเพาะชำเพื่อเตรียมความพร้อมในการนำไปปลูกเสริมป่า
  2. จัดเตรียมแท็กหมายเลขสำหรับติดต้นไม้แปลงปลูก ในพื้นที่ทำกินตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2541
  3. จัดทำฐานข้อมูล บันทึกความโต ความสูง และจับพิกัดต้นไม้ที่ทำการปลูกในพื้นที่ ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2541

นางสาวอรฤดี มณีทอง นักวิชาการป่าไม้ชำนาญการ รายงาน

ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ระดับพื้นที่ (จังหวัดตาก) รายงานกำดำเนินกิจกรรมดัง

ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ระดับพื้นที่ (จังหวัดตาก) สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 14 (ตาก)

พัฒนาบริเวณศูนย์ขับเคลื่อนฯ โดยการตัดหญ้า และดายวัชพืชรอบต้นไม้ ที่ปลูกบริเวณรอบศูนย์ขับเคลื่อนฯ
ทั้งนี้ ในช่วงนี้โรคโควิด 19 มีการแพร่ระบาดในอำเภออุ้มผางจังหวัดตาก ส่งผลให้มีการปิดการเข้าออกหมู่บ้านหลายหมู่บ้าน รวมถึงหมู่บ้านเป้าหมาย ประกอบกับมีคำสั่งจังหวัดห้ามออกนอกเคหะสถานเนื่องจากจังหวัดตากเป็นพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวด ดังนั้นในช่วงนี้การทำกิจกรรมภายใต้โครงการของศูนย์ขับเคลื่อนฯ (จังหวัดตาก) อาจดำเนินการได้เฉพาะบริเวณที่ทำการศูนย์ขับเคลื่อนเท่านั้น

นายภิรมย์ พวงสุมาลย์ รายงาน

ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดสกลนคร) รายงานผลการปฎิบัติงานประจำวันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ.2564

ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดสกลนคร) รายงานผลการปฎิบัติงานประจำวันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ.2564

  1. พัฒนาศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ฯ และดูแลบำรุงรักษากล้าไม้ในเรือนเพาะชำเพื่อเตรียมความพร้อมในการนำไปปลูกเสริมป่า
  2. จัดเตรียมแท็กหมายเลขสำหรับติดต้นไม้แปลงปลูก ในพื้นที่ทำกินตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2541
  3. วัดความโต ความสูง และจับพิกัดต้นไม้ที่ทำการปลูกในพื้นที่ ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2541 รายนายเลี่ยน ทิพย์คำมี จำนวน 2 แปลง

นางสาวอรฤดี มณีทอง นักวิชาการป่าไม้ชำนาญการ รายงาน

ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ระดับพื้นที่ (จังหวัดพิษณุโลก) รายงานผลการดำเนินงานประจำเดือนกรกฎาคม ถึง 6 สิงหาคม พ.ศ. 2564

รายงานผลการดำเนินงานประจำเดือนกรกฎาคม ถึง 6 สิงหาคม พ.ศ. 2564
ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ระดับพื้นที่ (จังหวัดพิษณุโลก)

  1. ดำเนินการเพาะชำกล้าไม้และเตรียมกล้าไม้สำหรับการปลูกและปลูกซ่อม ของผู้ร่วมโครงการ และแจกจ่ายกล้าไม้ให้กับประชาชนทั่วไป และหน่วยงานราชการในพื้นที่
  2. ดำเนินการติดตามการเจริญเติบโตของต้นไม้ที่ปลูกในปี พ.ศ. 2561 – 2563 ของผู้ร่วมโครงการโดยวัด การเจริญเติบโตและปลูกซ่อมต้นไม้ที่ตาย และดำเนินการปลูกต้นไม้ในแปลงปลูก ของผู้ร่วมโครงการปี 2564
  3. ดายวัชพืช และปลูกต้นไม้ภายในศูนย์ขับเคลื่อนฯ
  4. กิจกรรมร่วมกับชุมชน โดยเจ้าหน้าที่ศูนย์ขับเคลื่อนฯ
    4.1 เข้าร่วมกิจกรรมปลูกต้นไม้ ตามโครงการปลูกป่าเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว จัดขึ้นในวันที่ 27 กรกฎาคม 2564 ณ บริเวณรอบสระน้ำของหมู่บ้าน หมู่ 4 ตำบลบ้านแยง อำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก
    4.2 เข้าร่วมกิจกรรมปลูกต้นไม้เพื่อเฉลิมพระเกียรติเนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชนนีพันปีหลวง จัดขึ้นในวันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2564 ณ พื้นที่หมู่ 12 ตำบลบ้านแยง อำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก

นายอรรณพ ทิพยแสง
นักวิชาการป่าไม้ชำนาญการ
ทำหน้าที่หัวหน้าโครงการฯ ผู้รายงาน

ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดสกลนคร) รายงานผลการปฎิบัติงานประจำวันที่ 5 สิงหาคม 2564

ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดสกลนคร) รายงานผลการปฎิบัติงานประจำวันที่ 5 สิงหาคม 2564

  1. พัฒนาศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ฯ และดูแลบำรุงรักษากล้าไม้ในเรือนเพาะชำ เพื่อเตรียมความพร้อมในการนำไปปลูกเสริมป่า
  2. จัดเตรียมแท็กหมายเลขสำหรับติดต้นไม้แปลงปลูก ในพื้นที่ทำกินตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2541
  3. วัดความโต ความสูง และจับพิกัดต้นไม้ที่ทำการปลูกในพื้นที่ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที 30 มิถุนายน 2541 รายนายเลี่ยน ทิพย์คำมี จำนวน 1แปลง
  4. ร่วมปลูกต้นไม้กับชาวบ้านที่สมัครในปลูกต้นไม้ในพื้นที่ทำกินตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที 30 มิถุนายน 2541 รายนางอรพิน ศิหิรัญ ชาวบ้านค้อน้อย ต.กุดไห อ.กุดบาด จ.สกลนคร ยางนา จำนวน 100 ต้น

    นางสาวอรฤดี มณีทอง นักวิชาการป่าไม้ชำนาญการ รายงาน

ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดสกลนคร) รายงานผลการปฎิบัติงานประจำวันที่ 4 สิงหาคม พ.ศ.2564

ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดสกลนคร) รายงานผลการปฎิบัติงานประจำวันที่ 4 สิงหาคม พ.ศ.2564

  1. เจ้าหน้าที่เข้าแถวเคราพธงชาติ สวดมนต์ไหว้พระ
  2. ทำความสะอาดสำนักงาน และตัดหญ้ารอบศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดสกลนคร)
  3. ดูแล บำรุง รักษากล้าไม้ในเรือนเพาะชำเพื่อเตรียมพร้อมในการนำไปปลูกเสริมป่า
  4. วัดความโต ความสูง และจับพิกัดต้นไม้ที่ทำการปลูกในพื้นที่ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2541 แปลงรายนายทองกล้วย ทิพย์คำมี จำนวน 1 แปลง

นางสาวอรฤดี มณีทอง นักวิชาการป่าไม้ชำนาญการ รายงาน

ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (สกลนคร) รายงานผลการปฎิบัติงานประจำวันที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2564

ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (สกลนคร) รายงานผลการปฎิบัติงานประจำวันที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2564

เจ้าหน้าที่เข้าแถวเคราพธงชาติ สวดมนต์ไหว้พระ

ทำความสะอาดสำนักงาน และตัดหญ้ารอบศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (สกลนคร)

ดูแลบำรุง รักษากล้าไม้ในเรือนเพราะชำเพื่อเตรียมพร้อมในการนำไปปลูกเสริมป่า

ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ระดับพื้นที่ (จังหวัดแพร่) รายงานผลการปฏิบัติงานประจำวันที่ 3-4 สิงหาคม 2564

รายงานผลการปฏิบัติงานประจำวันที่ 3-4 สิงหาคม 2564
ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ระดับพื้นที่ (จังหวัดแพร่) กลุ่มงานวิชาการ สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 13 (แพร่)

  1. แผ้วถางวัชพืชไม้ผล (น้อยหน่า/มะม่วง) ไม้ประดับ (เหลืองเชียงราย/เล็บมือนาง/จันทร์ผา/ปาล์ม /ข่อย) พืชสมุนไพร (ฟ้าทลายโจร)
  2. ปลูกต้นจันทร์ผา เพื่อความสวยงามของพื้นที่ศูนย์ขับเคลื่อนฯ
  3. ติดตามการทาบกิ่งมะม่วงโชคอนันต์
  4. ทาบกิ่งมะม่วงเพชรบ้านลาด เพิ่มเติมบริเวณขอบสระน้ำ

นายมงคล ทิพย์โพธิ์
หัวหน้าศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้/รายงาน

ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ระดับพื้นที่ (จังหวัดแพร่) รายงานผลการปฏิบัติงานวันที่ 2 ส.ค. 64

รายงานผลการปฏิบัติงานวันที่ 2 ส.ค. 64 ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ระดับพื้นที่ (จังหวัดแพร่) กลุ่มงานวิชาการ สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 13 (แพร่)

  1. ถอนวัชพืชแปลงเพาะเมล็ดสัก
  2. เก็บรายละเอียดไม้แผ่นป้าย ก่อนทาสีพื้น (สีโอ๊คเข้ม)

นายมงคล ทิพย์โพธิ์
หัวหน้าศูนย์ขับเคลื่อนฯ
รายงาน