ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดแพร่) รายงานผลการปฏิบัติงานระหว่างวันที่ 1 – 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2565

รายงานผลการปฏิบัติงานระหว่างวันที่ 1 – 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2565
ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดแพร่)

  1. ดูแลศูนย์ขับเคลื่อนฯ โดยรดน้ำต้นไม้ ไม้ยืนต้น ไม้ผล ไม้ประดับ และไม้ดอก ตลอดจนพืชผักสวนครัว
  2. ตัดแต่งและเก็บรอบต้นไม้ ในพื้นที่ศูนย์ขับเคลื่อนฯ
  3. เตรียมเรือนเพาะชำกล้าไม้ ตลอดจนวัสดุและอุปกรณ์ที่ใช้เพาะชำกล้าไม้
  4. เตรียมเมล็ดไม้ที่จะเพาะในแปลงเพาะชำในฤดูฝนต่อไป
  5. ติดตาม ตรวจสอบและแผ้วถางวัชพืชไม้ที่ปลูกในแปลงสาธิต
  6. ประสานงานกับนายกองค์การบริหารส่วนตำบลสะเอียบ

นายมงคล ทิพย์โพธิ์
หัวหน้าศูนย์ขับเคลื่อนฯ

ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดจันทบุรี) ภายใต้การกำกับกลุ่มงานวิชาการ สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 2 (ศรีราชา)รายงานผลการปฏิบัติงานประจำวันที่ 19 – 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2565

รายงานผลการปฏิบัติงานประจำวันที่ 19 – 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2565
ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดจันทบุรี) ภายใต้การกำกับกลุ่มงานวิชาการ สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 2 (ศรีราชา)

  1. ถางหญ้าในแปลงสาธิตฯ
  2. ปลูกพืชผักสวนครัว ในแปลงสาธิตฯ
  3. ปรับภูมิทัศน์ ดูแลความสะอาดรอบบริเวณศูนย์

นายนาท ตุ่นสิงห์คำ
รายงาน

รายงานผลการปฏิบัติงานระหว่างวันที่ 21 – 25 ก.พ. 2565 ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ระดับพื้นที่ (จังหวัดพัทลุง)

ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ระดับพื้นที่ (จังหวัดพัทลุง)
รายงานผลการปฏิบัติงานระหว่างวันที่ 21 – 25 ก.พ. 2565

  1. กิจกรรมดูแลต้นไม้และทำความสะอาดในโรงเรือนเพาะชำ
  2. กิจกรรมจับพิกัดเส้นทางศึกษาธรรมชาติเพื่อทำแผนที่
  3. กิจกรรมซ่อมแซมรั้วรอบ ๆ ศูนย์ขับเคลื่อนฯ
  4. กิจกรรมเตรียมกล้าไม้เพื่อนำไปปลูกให้กับเครือข่าย

นางสาวเปรมฤดี ปราชญาวงศ์
นักวิชาการป่าไม้ปฏิบัติการ
ผู้รายงาน

ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดพิษณุโลก) รายงานผลการปฏิบัติงานระหว่างวันที่ 19 – 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565

ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดพิษณุโลก) รายงานผลการปฏิบัติงานระหว่างวันที่ 19 – 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 รายละเอียดดังนี้

  1. ดูแลรักษาความสะอาดบริเวณพื้นที่ศูนย์
  2. บันทึกข้อมูลต้นไม้และการเจริญเติบโตของต้นไม้ที่ปลูก
  3. กิจกรรมดูแลรักษากล้าไม้
  4. กิจกรรมเพาะกล้าไม้ ประจำปี พ.ศ.2565 โดยได้ดำเนินการ ผสมดิน กรอกถุง และย้ายชำกล้าไม้
  5. จัดทำแปลงตัวอย่างการปลูกพืชในระบบวนเกษตร
  6. กิจกรรมดูแลต้นไม้ที่ปลูกภายในพื้นที่ศูนย์
    จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ

นายอรรณพ ทิพยแสง นักวิชาการป่าไม้ชำนาญการ ทำหน้าที่หัวหน้าศูนย์ฯ
ผู้รายงาน

ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดตาก) รายงานการดำเนินกิจกรรม

รายงานการดำเนินกิจกรรม
ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดตาก)

  1. ประชุมชี้แจงราษฎรชุมชนนำร่องโครงการเรดด์พลัส บ้านหม่องกั๊วะ บ้านมอทะ และเครือข่ายราษฎรร่วมอนุรักษ์ เรื่อง การบุกรุกขยายพื้นที่ และมาตรการควบคุมไฟป่า
  2. ออกลาดตระเวนร่วมคณะกรรมการหมู่บ้าน บ้านหม่องกั๊วะ และบ้านกุยเลอตอ เพื่อป้องกันการบุกรุกขยายพื้นที่ และป้องกันการเกิดไฟป่าในพื้นที่
  3. ร่วมการทำฝายหิน ณ บ้านกุยเลอตอ ก่อนปลาตะพากจะขึ้นมาวางไข่ ในเร็วๆนี้

นายภิรมย์ พวงสุมาลย์ รายงาน

ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดจันทบุรี) รายงานผลการปฏิบัติงานระหว่างวันที่ 1 – 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565

รายงานผลการปฏิบัติงานระหว่างวันที่ 1 – 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565
ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดจันทบุรี)

  1. กิจกรรมดูแลรักษากล้าไม้
  2. เพาะกล้าไม้ โดยได้ดำเนินการ ผสมดิน กรอกถุง และย้ายชำกล้าไม้
  3. จัดทำแปลงสาธิตฯ และจัดฐานข้อมูลไม้ใหญ่ในแปลง
  4. กิจกรรมดูแลต้นไม้ที่ปลูกภายในพื้นที่ศูนย์ฯ
  5. การจัดทำและดูแลกองปุ๋ยหมัก
  6. ปรับปรุง เทพื้น ขัดมัน สำนักงานฯ
  7. ร่วมกิจกรรมจิตอาสาสร้างฝายชะลอของชุมชน

นายนาท ตุ่นสิงห์คำ
ผู้รายงาน

ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดพัทลุง) รายงานผลการปฏิบัติงานระหว่างวันที่ 14 – 18 ก.พ. 2565

ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดพัทลุง)
รายงานผลการปฏิบัติงานระหว่างวันที่ 14 – 18 ก.พ. 2565

  1. กิจกรรมดูแลต้นไม้และทำความสะอาดในโรงเรือนเพาะชำ
  2. กิจกรรมจับพิกัดไม้ปลูกให้กับเครือข่าย
  3. กิจกรรมออกพื้นที่วัดการเจริญเติบโตของต้นไม้ให้กับเครือข่ายปี 2563 – 2564

นางสาวเปรมฤดี ปราชญาวงศ์
นักวิชาการป่าไม้ปฏิบัติการ
ผู้รายงาน

ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดพิษณุโลก) รายงานผลการปฏิบัติงานระหว่างวันที่ 12 – 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565

ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดพิษณุโลก) รายงานผลการปฏิบัติงานระหว่างวันที่ 12 – 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565

  1. กิจกรรมดูแลรักษากล้าไม้
  2. กิจกรรมเพาะกล้าไม้ ประจำปี พ.ศ.2565 โดยได้ดำเนินการ ผสมดิน กรอกถุง จัดเก็บเมล็ดไม้ และย้ายชำกล้าไม้
  3. จัดทำแปลงตัวอย่างการปลูกพืชในระบบวนเกษตร
  4. กิจกรรมแจกจ่ายกล้าไม้ให้กับประชาชนและหน่วยงาน
  5. กิจกรรมดูแลต้นไม้ที่ปลูกภายในพื้นที่ศูนย์
  6. การจัดทำและดูแลกองปุ๋ยหมัก
    จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ

นายอรรณพ ทิพยแสง นักวิชาการป่าไม้ชำนาญการ ทำหน้าที่หัวหน้าศูนย์ฯ
ผู้รายงาน

ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ระดับพื้นที่จังหวัดพิษณุโลก รายงานผลการปฏิบัติงานระหว่างวันที่ 5 – 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565

ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ระดับพื้นที่จังหวัดพิษณุโลก
รายงานผลการปฏิบัติงานระหว่างวันที่ 5 – 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565
ของศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ระดับพื้นที่ (จังหวัดพิษณุโลก)

  1. ดูแลรักษาความสะอาดบริเวณพื้นที่ศูนย์
  2. กิจกรรมดูแลรักษากล้าไม้ข้ามปีโดยได้ดำเนินการคัดขนาดและเปลี่ยนถุงกล้าไม้
  3. กิจกรรมเพาะกล้าไม้ประจำปี พ.ศ. 2565 โดยได้ดำเนินการผสมดินกรอกถุงจัดเก็บและเพาะเมล็ดไม้บันทึกข้อมูลต้นไม้และการเจริญเติบโตของต้นไม้ที่ปลูก
  4. บันทึกข้อมูลต้นไม้และการเจริญเติบโตของต้นไม้ที่ปลูก

นายอรรณพ ทิพยแสง
หัวหน้าศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดพิษณุโลก)
ผู้รายงาน

ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ระดับพื้นที่จังหวัดพัทลุง รายงานผลการปฏิบัติงานระหว่างวันที่7-11 ก.พ. 2565

ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ระดับพื้นที่จังหวัดพัทลุง
รายงานผลการปฏิบัติงานระหว่างวันที่7-11 ก.พ. 2565

  1. กิจกรรมดูแลต้นไม้และทำความสะอาดในโรงเรือนเพาะชำ
  2. กิจกรรมจับพิกัดรอบศูนย์ขับเคลื่อนเพื่อทำแผนที่
  3. กิจกรรมสำรวจต้นไม้ในเส้นทางศึกษาธรรมชาติเพื่อจัดทำป้ายชื่อต้นไม้

นางสาวเปรมฤดีปราชญาวงศ์นักวิชาการป่าไม้ปฏิบัติการ 2 รายงาน

ฝุ่น PM 2.5 มาจากไหน ? แก้ไขอย่างไงให้ตรงจุด

ฝุ่น PM 2.5 มาจากไหน ? แก้ไขอย่างไงให้ตรงจุด

PM 2.5 คือ ฝุ่นขนาดเล็กไม่เกิน 2.5 ไมครอน หรือ PM 2.5 หากจะพูดภาษาบ้านๆ ก็คือ ฝุ่นละเอียด กลายเป็นชื่อที่คุ้นหูคนไทยมากขึ้น มีลักษณะเป็นเขม่าควัน หรือไอเสียจากการเผาเชื้อเพลิงต่างๆ ซึ่งเป็นอันตรายเพราะสามารถเข้าสู่ร่างกายของคนเราทางการหายใจได้มากกว่าฝุ่นขนาดใหญ่

สาเหตุการเกิด PM 2.5   หลายสถาบันวิจัยทั้งไทยและต่างประเทศต่างวิเคราะห์ วิจัยสาเหตุของการเกิด PM2.5 ที่ส่วนใหญ่เกิดจากการเผาไหม้ ทั้งจากเครื่องยนต์ของยานพาหนะต่างๆ และการเผาวัสดุต่างๆ ข้อมูลจากกรมมลพิษ และกระทรวงพลังง พบว่า สาเหตุของ PM2.5 ในประเทศไทยมาจาก ‘การเผาในที่โล่ง’ เป็นแหล่งกำเนิดของ PM2.5 มากที่สุด ตามด้วยอุตสาหกรรมการผลิต และการขนส่ง โดยภาคการผลิตไฟฟ้านั้นเป็นแหล่งกำเนิด PM2.5 ในอันดับที่ 4

วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2565 นางสุนีย์ ศักดิ์เสือ ผู้อำนวยการกองการต่างประเทศ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช พร้อมด้วยนายสุกันฑ์ พึ่งกุล นักวิชาการป่าไม้ชำนาญการพิเศษ เดินทางไปราชการเพื่อร่วมบินถ่ายภาพ Drone

วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2565 นางสุนีย์ ศักดิ์เสือ ผู้อำนวยการกองการต่างประเทศ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช พร้อมด้วยนายสุกันฑ์ พึ่งกุล นักวิชาการป่าไม้ชำนาญการพิเศษ เดินทางไปราชการเพื่อร่วมบินถ่ายภาพ Drone ร่วมกับนายมงคล ไชยภักดี นักวิชาการป่าไม้ชำนาญการพิเศษ หัวหน้าทีมพญาเสือ เพื่อประกอบการแก้ไขกรณีพิพาทแนวเขตที่ดิน ณ อุทยานแห่งชาติเขื่อนศรีนครินทร์ ซึ่งเป็นการนำเทคโนโลยีที่ทันสมัย เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน

ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดพิษณุโลก) รายงานผลการปฏิบัติงานระหว่างวันที่ 15- 21 มกราคม พ.ศ. 2565

ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดพิษณุโลก) รายงานผลการปฏิบัติงานระหว่างวันที่ 15- 21 มกราคม พ.ศ. 2565 รายละเอียดดังนี้

  1. กิจกรรมดูแลรักษากล้าไม้ คัดขนาดและเปลี่ยนถุงกล้าไม้
  2. กิจกรรมรักษาความสะอาด และดายวัชพืชในพื้นที่ศูนย์
  3. กิจกรรมดูแลต้นไม้ที่ปลูกภายในพื้นที่ศูนย์
    จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ

นายอรรณพ ทิพยแสง นักวิชาการป่าไม้ชำนาญการ ทำหน้าที่หัวหน้าศูนย์ฯ
ผู้รายงาน

ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดจันทบุรี) รายงานผลการปฏิบัติงานประจำวันที่ 11-20 มกราคม พ.ศ.2565

รายงานผลการปฏิบัติงานประจำวันที่ 11-20 มกราคม พ.ศ.2565
ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดจันทบุรี)
ภายใต้การกำกับกลุ่มงานวิชาการ สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 2 (ศรีราชา)

  1. เตรียมดินเพื่อเพาะชำกล้าไม้
  2. ได้ต่อเติมหลังคาห้องน้ำ
  3. คัดขนาดกล้าไม้ และเปลี่ยนถุงกล้าไม้
  4. จัดเตรียมพื้นที่แปลงสาธิต ประมาณ 10 ไร่
  5. เสริมน้ำให้กับแหล่งน้ำของสัตว์ป่าในแปลงสาธิต
  6. ปรับภูมิทัศน์ ดูแลความสะอาดโดยรอบของศูนย์ฯ
    นายนาท ตุ่นสิงห์คำ /รายงาน

ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดแพร่) รายงานผลการปฏิบัติงานระหว่างวันที่ 1-15 มกราคม พ.ศ. 2565

ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดแพร่) รายงานผลการปฏิบัติงานระหว่างวันที่ 1-15 มกราคม พ.ศ. 2565

  1. เตรียมแปลงเพาะชำกล้าไม้ เพื่อจะได้เพาะกล้าแจกจ่ายในฤดูฝนต่อไป
  2. พัฒนาศูนย์ขับเคลื่อนฯ
  3. ดูแลไม้ประดับในศูนย์ขับเคลื่อนฯ
  4. ใช้เวลาว่างปลูกพืชผักสวนครัวในศูนย์ขับเคลื่อนฯ
  5. แผ้วถางวัชพืชในแปลงสาธิต

นายมงคล ทิพย์โพธิ์ หัวหน้าศูนย์ขับเคลื่อนฯ รายงาน

ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดสกลนคร) รายงานผลการปฏิบัติงานระหว่างวันที่ 10 – 14 มกราคม พ.ศ. 2565

ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดสกลนคร) รายงานผลการปฏิบัติงานระหว่างวันที่ 10 – 14 มกราคม พ.ศ. 2565 ดังนี้

  1. ปรับปรุงเรือนเพาะชำพร้อมทั้งดูแลรักษากล้าไม้ในเรือนเพาะชำ
  2. เจ้าหน้าที่เข้าแถวเคารพธงชาติ สวดมนต์ไหว้พระ
  3. ซ่อมบำรุงระบบส่งน้ำของศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ฯ เพื่อใช้สำหรับอุปโภค
  4. พัฒนาศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ฯ

นางสาวอรฤดี มณีทอง
นักวิชาการป่าไม้ชำนาญการ หัวหน้าศูนย์ฯ (จังหวัดสกลนคร) รายงาน

รายงานผลการปฏิบัติงานระหว่างวันที่ 10 – 14 ม.ค. 2565

รายงานผลการปฏิบัติงานระหว่างวันที่ 10 – 14 ม.ค. 2565

  1. กิจกรรมออกพื้นที่แจกจ่ายกล้าไม้และร่วมปลูกต้นไม้ให้กับเครือข่าย
  2. กิจกรรมปรับภูมิทัศน์บริเวณรอบศูนย์ขับเคลื่อนฯ
  3. กิจกรรมดูแลใส่ปุ๋ยกล้าไม้ในโรงเรือน
  4. กิจกรรมลงข้อมูลต้นไม้ให้กับเครือข่าย

นางสาวเปรมฤดี ปราชญาวงศ์
นักวิชาการป่าไม้ปฏิบัติการ รายงาน

ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดพิษณุโลก) รายงานผลการปฏิบัติงานระหว่างวันที่ 8- 14 มกราคม พ.ศ. 2565

ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดพิษณุโลก) รายงานผลการปฏิบัติงานระหว่างวันที่ 8- 14 มกราคม พ.ศ. 2565 ดังนี้

  1. เจ้าหน้าที่ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดพิษณุโลก) เป็นวิยากรให้กับสำนักงานการปฏิรูปที่ดินจังหวัดเพชรบูรณ์ เพื่อฝึกอบรม และปฏิบัติการเก็บข้อมูลการกักเก็บคาร์บอนของต้นไม้ และการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ให้กับนักเรียนโรงเรียนตำรวจตะเวนชายแดนบ้านโป่งตะแบก ตำบลพุทธบาท อำเภอชนแดน จังหวัดเพชรบูรณ์ ตามหลักสูตรส่งเสริมและสร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช ภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
  2. กิจกรรมดูแลรักษากล้าไม้ คัดขนาดและเปลี่ยนถุงกล้าไม้
  3. กิจกรรมดายวัชพืช และริดกิ่งต้นไม้ภายในพื้นที่ศูนย์

นายอรรณพ ทิพยแสง นักวิชาการป่าไม้ชำนาญการ ทำหน้าที่หัวหน้าศูนย์ฯ ผู้รายงาน

รายงานผลการปฏิบัติงานระหว่างวันที่ 4 – 7 ม.ค. 2565

รายงานผลการปฏิบัติงานระหว่างวันที่ 4 – 7 ม.ค. 2565

  1. กิจกรรมดูแลทำความสะอาดกล้าไม้ในโรงเรือน
  2. กิจกรรมซ่อมแซมทำประตูทางเข้าศูนย์ขับเคลื่อน
  3. กิจกรรมพาหัวหน้าสถานีเพาะเลี้ยงสัตว์ป่าพัทลุงเยี่ยมชมศูนย์ขับเคลื่อน
  4. กิจกรรมออกพื้นที่พบกับเครือข่ายที่ปลูกต้นไม้

นางสาวเปรมฤดี ปราชญาวงศ์ นักวิชาการป่าไม้ปฎิบัติการ รายงาน

รายงานผลการปฏิบัติงานระหว่างวันที่ 27 – 30 ธ.ค. 2564

รายงานผลการปฏิบัติงานระหว่างวันที่ 27 – 30 ธ.ค. 2564

  1. กิจกรรมลงข้อมูลต้นไม้ให้กับเครือข่าย
  2. กิจกรรมออกพื้นที่แปลงเครือข่ายสำรวจการเติบโตของต้นไม้
  3. กิจกรรมดูแลต้นไม้และทำความสะอาดในเรือนเพาะชำ

นางสาวเปรมฤดี ปราชญาวงศ์ นักวิชาการป่าไม้ปฎิบัติการ รายงาน