การประชุมคณะกรรมการกำกับทางวิชาการเพื่อจัดทำยุทธศาสตร์เรดด์พลัสของประเทศและการประเมินผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมและสังคมเชิงยุทธศาสตร์ ครั้งที่ 3/2564 (คณะกรรมการวิชาการด้านการออกแบบระบบข้อมูลข่าวสารปกป้องผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมและสังคมและการออกแบบกลไกร้องทุกข์)

วันที่ 16 กันยายน 2564 เวลา 09.00 – 12.00 น. นายธัญนรินทร์ ณ นคร ผู้ตรวจราชการ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช เป็นประธานการประชุมคณะกรรมการกำกับทางวิชาการเพื่อจัดทำยุทธศาสตร์เรดด์พลัสของประเทศและการประเมินผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมและสังคมเชิงยุทธศาสตร์ ครั้งที่ 3/2564 (คณะกรรมการวิชาการด้านการออกแบบระบบข้อมูลข่าวสารปกป้องผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมและสังคมและการออกแบบกลไกร้องทุกข์) ณ ห้องประชุมชั้น 2 อาคารศูนย์ปฎิบัติการ (H.A. Slade) กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช และผ่านระบบการประชุมทางไกล โดยที่ประชุมรับทราบถึงความก้าวหน้าในการจัดระบบข้อมูลข่าวสารและติดตามการป้องกันผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมและสังคมและกลไกการแก้ไขเรื่องร้องทุกข์ ภายใต้การจัดทำยุทธศาสตร์เรดด์พลัสของประเทศและการประเมินผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมและสังคมเชิงยุทธศาสตร์ โครงการเตรียมความพร้อมต่อกลไกเรดด์พลัส (R-PP) และร่วมกันพิจารณาและให้ข้อคิดเห็นต่อ 1) ร่างรายงานระบบข้อมูลข่าวสารและติดตามการปกป้องผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมและสังคม และ 2) ร่างรายงานกลไกการแก้ไขเรื่องร้องทุกข์ ซึ่งนำเสนอโดยทีมวิจัยจากมูลนิธิสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย

ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดสกลนคร) รายงานผลการปฎิบัติงานประจำวันที่ 16 กันยายน พ.ศ.2564

ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดสกลนคร) รายงานผลการปฎิบัติงานประจำวันที่ 16 กันยายน พ.ศ.2564

  1. เจ้าหน้าที่เข้าแถวเคารพธงชาติ สวดมนต์ไหว้พระ
  2. พัฒนา​ศูนย์​ขับเคลื่อน​และ​เรียนรู้​การ​เปลี่ยน​แปลง​สภาพ​ภูมิอากาศ​ภาค​ป่าไม้​ และดูแลบำรุง​รักษา​กล้าไม้​ในเรือนเพาะ​ชำ​
  3. จับพิกัดต้นไม้ที่แปลงปลูก​พื้นที่ตามมติคณะรัฐมนตรี​ เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน​ 2541
  4. บันทึก​และจัดทำฐานข้อมูล​การ​ปลูก​ต้นไม้​ประจำ​ปี 2564

นางสาวอรฤดี มณีทอง นักวิชาการป่าไม้ชำนาญการ รายงาน

ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดสกลนคร) รายงานผลการปฎิบัติงานประจำวันที่ 15 กันยายน พ.ศ.2564

ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดสกลนคร) รายงานผลการปฎิบัติงานประจำวันที่ 15 กันยายน พ.ศ.2564

  1. เจ้าหน้าที่เข้าแถวเคารพธงชาติ สวดมนต์ไหว้พระ
  2. พัฒนา​ศูนย์​ขับเคลื่อน​และ​เรียนรู้​การ​เปลี่ยน​แปลง​สภาพ​ภูมิอากาศ​ภาค​ป่าไม้​ และดูแลบำรุง​รักษา​กล้าไม้​ในเรือนเพาะ​ชำ​
  3. จัดเตรียมแท็กหมายเลขสำหรับ​ติดต้นไม้​แปลงปลูก​ในพื้นที่ทำกินตามมติคณะรัฐมนตรี​ เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน​ 2541
  4. ติดป้ายชื่อศูนย์​ขับเคลื่อน​และ​เรียนรู้​การเปลี่ยน​แปลง​สภาพ​ภูมิอากาศ​ภาค​ป่าไม้​
  5. บันทึก​และจัดทำฐานข้อมูล​การ​ปลูก​ต้นไม้​ประจำ​ปี 2564

นางสาวอรฤดี มณีทอง นักวิชาการป่าไม้ชำนาญการ รายงาน

ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดสกลนคร) รายงานผลการปฎิบัติงานประจำวันที่ 13 กันยายน พ.ศ.2564

ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดสกลนคร) รายงานผลการปฎิบัติงานประจำวันที่ 13 กันยายน พ.ศ.2564

  1. เจ้าหน้าที่เข้าแถวเคารพธงชาติ สวดมนต์ไหว้พระ
  2. พัฒนา​ศูนย์​ขับเคลื่อน​และ​เรียนรู้​การ​เปลี่ยน​แปลง​สภาพ​ภูมิอากาศ​ภาค​ป่าไม้​ และดูแลบำรุง​รักษา​กล้าไม้​ในเรือนเพาะ​ชำ​
  3. ติดป้ายชื่อพันธ์​ุไม้ตามเส้นทางศึกษา​ธรรมชาติ​ และบริเวณ​รอบศูนย์​ขับเคลื่อน​และ​เรียนรู้​การ​เปลี่ยน​แปลง​สภาพ​ภูมิอากาศ​ภาค​ป่าไม้​
  4. บันทึก​และจัดทำฐานข้อมูล​การ​ปลูก​ต้นไม้​ประจำ​ปี 2564

นางสาวอรฤดี มณีทอง นักวิชาการป่าไม้ชำนาญการ รายงาน

ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดสกลนคร) รายงานผลการปฎิบัติงานประจำวันที่ 10 กันยายน​ พ.ศ.2564

ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดสกลนคร) รายงานผลการปฎิบัติงานประจำวันที่ 10 กันยายน​ พ.ศ.2564

  1. เจ้าหน้าที่เข้าแถวเคารพธงชาติ สวดมนต์ไหว้พระ
  2. พัฒนา​ศูนย์​ขับเคลื่อน​และ​เรียนรู้​การ​เปลี่ยน​แปลง​สภาพ​ภูมิอากาศ​ภาค​ป่าไม้​ และดูแลบำรุง​รักษา​กล้าไม้​ในเรือนเพาะ​ชำ​
  3. จัดวางป้ายสื่อความหมายในเส้นทางศึกษา​ธรรมชาติ​ ของศูนย์​ขับเคลื่อน​และ​เรียนรู้​การ​เปลี่ยน​แปลง​สภาพ​ภูมิอากาศ​ภาค​ป่าไม้​
  4. เจ้าหน้าที่​เข้ารับ​การฉีดวัคซีน​ COVIC-19 เข็มที่ 2 ณ โรงพยาบาล​กุดบาด จังหวัด​สกลนคร
  5. บันทึก​และจัด​ทำฐานข้อมูล​การ​ปลูก​ต้นไม้​ประจำ​ปี 2564
    นางสาวอรฤดี มณีทอง นักวิชาการป่าไม้ชำนาญการ รายงาน

ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดสกลนคร) รายงานผลการปฎิบัติงานประจำวันที่ 8 กันยายน พ.ศ.2564

ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดสกลนคร) รายงานผลการปฎิบัติงานประจำวันที่ 8 กันยายน พ.ศ.2564

  1. เจ้าหน้าที่เข้าแถวเคารพธงชาติ สวดมนต์ไหว้พระ
  2. พัฒนา​ศูนย์​ขับเคลื่อน​และ​เรียนรู้​การ​เปลี่ยน​แปลง​สภาพ​ภูมิอากาศ​ภาค​ป่าไม้​ และดูแลบำรุง​รักษา​กล้าไม้​ในเรือนเพาะ​ชำ​
  3. บันทึก​และจัดทำฐานข้อมูล​การ​ปลูก​ต้นไม้​ประจำ​ปี 2564
  4. จัดวางป้ายสื่อความหมาย​ในเส้นทาง​ศึกษา​ธรรมชาติ​ ของศูนย์​ขับเคลื่อน​และ​เรียนรู้​การ​เปลี่ยน​แปลง​สภาพ​ภูมิอากาศ​ภาค​ป่าไม้​
  5. แจกจ่ายกล้าไม้ผลให้กับเครือข่าย​ชุมชน​ที่สมัคร​ใจร่วมปลูกต้นไม้ เพื่อนำไปปลูกให้พื้นที่ต้นแบบการปลูกป่าแบบผสมผสาน​

นางสาวอรฤดี มณีทอง นักวิชาการป่าไม้ชำนาญการ รายงาน

การประชุมนำเสนอผลการดำเนินงาน ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะของศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ (ระดับพื้นที่) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

วันอังคารที่ 7 กันยายน 2564 เวลา 09.00 – 12.00 น. นางรุ่งนภา พัฒนวิบูลย์ รองอธิบดีกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์พืช เป็นประธานการประชุมนำเสนอผลการดำเนินงาน ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะของศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ (ระดับพื้นที่) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 พร้อมด้วยนางทิพวรรณ เศรษฐพรรค์ รักษาราชการแทนผู้อำนวยการกองการต่างประเทศ นางสุนีย์ ศักดิ์เสือ ผู้จัดการสำนักงานการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ และหัวหน้าศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ (ระดับพื้นที่) จำนวน 9 แห่ง ซึ่งการประชุม​ในวันนี้ มีวัตถุประสงค์​เพื่อติดตามผลการดำเนินงานตามกิจกรรมในแผนปฏิบัติงานและเบิกจ่ายงบประมาณในปีงบประมาณ 2564 ภายใต้แผนงานยุทธศาสตร์จัดการผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาวะภูมิอากาศ โครงการลดก๊าซเรือนกระจกในภาคป่าไม้โดยสร้างแรงจูงใจและกระบวนการมีส่วนร่วม ระยะที่ 2

ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดเชียงใหม่) รายงานผลการปฏิบัติงานประจำวันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ.2564

รายงานผลการปฏิบัติงานประจำวันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ.2564
ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดเชียงใหม่)

นายจักรกฤษณ์ หล้าแก้ว
หัวหน้าศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดเชียงใหม่) รายงาน

ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดจันทบุรี) สบอ.2 (ศรีราชา) รายงานผลการปฏิบัติงานประจำ เดือนสิงหาคม พ.ศ.2564

รายงานผลการปฏิบัติงานประจำ เดือนสิงหาคม พ.ศ.2564
ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดจันทบุรี) สบอ.2 (ศรีราชา)

  1. สำรวจเก็บข้อมูลวัดความสูงของต้นไม้ป่า ตามโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในภาคป่าไม้ ประจำปีงบประมาณ 2564 ในพื้นที่ มติ 30 มิ.ย.41 เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาสอยดาว จังหวัดจันทบุรี จำนวน 1 ราย
    1.1 นายสมพงษ์ ฤกษ์สม จำนวน 1,357 ต้น
    (พันธุ์ไม้ป่าที่ปลูก ได้แก่ ตะเคียน,มะค่า,พะยูง,เสลา,สัก,มะฮอกกานี,หว้า)
  2. ปรับปรุงห้องทำงาน
  3. จัดทำบันทึกข้อมูลไม้ปลูกของชุมชน และทำรายงานผลการปฏิบัติงานประจำปี 2564
  4. เปลี่ยนถุงกล้าไม้
  5. ตัดหญ้าสนาม และรอบๆสำนักงานศูนย์ฯ

นายนาท ตุ่นสิงห์คำ
หัวหน้าศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้ฯ รายงาน

ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดสกลนคร) รายงานผลการปฎิบัติงานประจำวันที่ 17 สิงหาคม พ.ศ.2564

ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดสกลนคร) รายงานผลการปฎิบัติงานประจำวันที่ 17 สิงหาคม พ.ศ.2564

  1. นายอำเภอกุดบาก พร้อมด้วยเจ้าหน้าฝ่ายปกครอง เข้าตรวจเยี่ยมและให้กำลังใจ การปฏิบัติ​งานของเจ้าหน้าที่ศูนย์​ขับเคลื่อน​และ​เรียนรู้​การ​เปลี่ยน​แปลง​สภาพ​ภูมิอากาศ​ภาค​ป่าไม้​ฯ
  2. พัฒนาศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ฯ และดูแลบำรุงรักษากล้าไม้ในเรือนเพาะชำเพื่อเตรียมความพร้อมในการนำไปปลูกเสริมป่า
  3. จัดเตรียมแท็กหมายเลขสำหรับติดต้นไม้แปลงปลูก ในพื้นที่ทำกินตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2541
  4. วัดความโต ความสูง และจับพิกัดต้นไม้ที่ทำการปลูกในพื้นที่ ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2541 รายนางอริษสา บุญยิ่ง จำนวน 1 แปลง

นางสาวอรฤดี มณีทอง นักวิชาการป่าไม้ชำนาญการ รายงาน

ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดสกลนคร) รายงานผลการปฎิบัติงานประจำวันที่ 16 สิงหาคม พ.ศ.2564

ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดสกลนคร) รายงานผลการปฎิบัติงานประจำวันที่ 16 สิงหาคม พ.ศ.2564

  1. เจ้าหน้าที่เข้าแถวเคารพธงชาติ สวดมนต์ไหว้พระ
  2. พัฒนาศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ฯ และดูแลบำรุงรักษากล้าไม้ในเรือนเพาะชำเพื่อเตรียมความพร้อมในการนำไปปลูกเสริมป่า
  3. จัดเตรียมแท็กหมายเลขสำหรับติดต้นไม้แปลงปลูก ในพื้นที่ทำกินตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2541
  4. วัดความโต ความสูง และจับพิกัดต้นไม้ที่ทำการปลูกในพื้นที่ ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2541 รายนางอริษสา บุญยิ่ง จำนวน 1 แปลง

นางสาวอรฤดี มณีทอง นักวิชาการป่าไม้ชำนาญการ รายงาน

ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดแพร่) กลุ่มงานวิชาการ สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 13 (แพร่) รายงานผลการปฎิบัติงานประจำวันที่ 16-17 สิงหาคม พ.ศ.2564

ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดแพร่) กลุ่มงานวิชาการ สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 13 (แพร่) รายงานผลการปฎิบัติงานประจำวันที่ 16-17 สิงหาคม พ.ศ.2564

  1. แจกจ่ายกล้าไม้ให้แก่ชุมชนเครือข่ายเรดด์พลัส
  2. ดูแลรักษาศูนย์ขับเคลื่อนฯ โดยการตัดหญ้า ตกแต่งสถานที่ และดูแลพืชผักสวนครัว
  3. ดูแลแปลงเพาะสักโดยการถอนวัชพืช

นายมงคล ทิพย์โพธิ์
หัวหน้าศูนย์ขับเคลื่อนฯ
รายงาน

𝐂𝐎𝐏𝟐𝟔: 𝐖𝐡𝐚𝐭 𝐢𝐬 𝐭𝐡𝐞 𝐔𝐍 𝐜𝐥𝐢𝐦𝐚𝐭𝐞 𝐜𝐨𝐧𝐟𝐞𝐫𝐞𝐧𝐜𝐞 𝐢𝐧 𝐆𝐥𝐚𝐬𝐠𝐨𝐰 𝐚𝐧𝐝 𝐰𝐡𝐲 𝐢𝐬 𝐢𝐭 𝐬𝐨 𝐢𝐦𝐩𝐨𝐫𝐭𝐚𝐧𝐭?

ผู้นำจาก 196 ประเทศจะเข้าร่วมการประชุมด้านภูมิอากาศที่ Glasgow ในเดือนพฤศจิกายนนี้

ในการประชุมจะนำไปสู่ความตกลงเพื่อนำไปสู่การปฏิบัติ สำหรับต่อต้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และผลกระทบที่ตามมา เช่น การเพิ่มขึ้นของระดับน้ำทะเล และสภาพอากาศรุนแรง

  รายงานจากนักวิทยาศาสตร์ เตือนถึงอุณหภูมิโลก นับตั้งแต่ปี 1970 ที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว กว่าครั้งใดๆ ในช่วงเวลา 2,000 ปีที่ผ่านมา

𝐖𝐡𝐚𝐭 𝐢𝐬 𝐭𝐡𝐞 𝐜𝐥𝐢𝐦𝐚𝐭𝐞 𝐜𝐨𝐧𝐟𝐞𝐫𝐞𝐧𝐜𝐞?
การประชุมนี้ จัดขึ้นโดยองค์การสหประชาชาติ โดยเรียกว่า 𝐂𝐎𝐏𝟐𝟔 (COP เป็นอักษรย่อของคำว่า Conference of the Parties) เป็นความพยายามที่จะทำให้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศกลับสู่การควบคุม ซึ่งเป็นห้วงเวลาที่ผู้นำจากประเทศต่างๆ จะมีส่วนร่วมในการถกในประเด็นการปฏิบัติที่เพียงพอหรือไม่ สำหรับการบรรลุเป้าหมายตามความตกลงปารีส ซึ่งเป็นความตกลงที่สำคัญที่ทั่วโลกต่างให้คำมั่นต่อการต่อต้านภาวะโลกร้อน

จากความตกลงที่พยายามหยุดยั้งการเพิ่มขึ้นของอถณหภูมิไว้ที่ “𝒘𝒆𝒍𝒍 𝒃𝒆𝒍𝒐𝒘” 𝟐𝑪 (𝟑.𝟔𝑭) และมีความพยายามที่จะจำกัดการเพิ่มขึ้นไว้ที่ 1.5C แต่เหล่านักวิทยาศาตร์ได้ออกมาเตือนว่า จากความพยายามที่มียังน้อยกว่าระดับที่ควรจะเป็นและหากการปฏบัติยังอยู่ที่ระดับนี้ ภาวะโลกร้อนจะขึ้นแตะระดับ 3C

𝐖𝐡𝐚𝐭 𝐚𝐜𝐭𝐢𝐨𝐧 𝐧𝐞𝐞𝐝𝐬 𝐭𝐨 𝐛𝐞 𝐚𝐠𝐫𝐞𝐞𝐝 𝐚𝐭 𝐂𝐎𝐏𝟐𝟔?
แต่ละประเทศจะถูกร้องขอถึง “𝒂𝒎𝒃𝒊𝒕𝒊𝒐𝒖𝒔” ของเป้าหมายการลดก๊าซเรือนกระจกภายในปี 2030 และยังจะถูกร้องขอถึงหนทางการบรรลุสู่เป้าหมาย “𝒏𝒆𝒕 𝒛𝒆𝒓𝒐” ซึ่งเป็นภาวะที่ไม่เพิ่มก๊าซเรือนกระจกขึ้นสู่บรรยากาศมากไปกว่าการกำจัด ภายในปี 2050

การเผาไหม้เชื้อเพลิงเป็นสาเหตุหลักของการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ดังนั้น หนทางเพื่อก้าวสู่เป้าหมาย จะประกอบด้วย
  หยุดการพึ่งพาพลังงานจากถ่านหิน
หยุดการทำลายป่าไม้
เปลี่ยนไปใช้รถยนต์ไฟฟ้า
ลงทุนในพลังงานหมุนเวีย

𝐖𝐡𝐚𝐭 𝐝𝐨 𝐭𝐡𝐞 𝐰𝐨𝐫𝐥𝐝’𝐬 𝐩𝐨𝐨𝐫𝐞𝐫 𝐜𝐨𝐮𝐧𝐭𝐫𝐢𝐞𝐬 𝐰𝐚𝐧𝐭?
ผู้คนในประเทศยากจน ถือเป็นด่านหน้าของผลกระทบจากภาวะโลกร้อน ไม่เพียงแต่ความแห้งแล้งและคลื่นความร้อน แต่การเพิ่มขึ้นของระดับน้ำทะเลจะค่อยๆ กลืนประเทศหมู่เกาะ และการรุกล้ำของน้ำเค็มยังทำลายพื้นที่เพาะปลูก โดยการถึงการประชุม COP26 ประเทศกำลังพัฒนากว่า 100 ประเทศได้กำหนดแสดงจุดยืนของความต้องการความช่วยเหลือ เช่น
เงินทุนสำหรับการต่อสู้และปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
การเยียวยาต่อผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับพวกเขา

เงินทุนสำหรับการเปลี่ยนผ่านสู่โครงสร้างเศรษฐกิจที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
ซึ่งกลุ่มประเทศเหล่านี้ต้องการความชัดเจนสำหรับประเด็นนี้ ไม่เช่นนั้นแล้ว การประชุม COP26 อาจไร้ค่าและจบลงด้วยความล้มเหลว

𝐖𝐡𝐚𝐭 𝐡𝐚𝐯𝐞 𝐫𝐢𝐜𝐡𝐞𝐫 𝐜𝐨𝐮𝐧𝐭𝐫𝐢𝐞𝐬 𝐩𝐫𝐨𝐦𝐢𝐬𝐞𝐝?
สำหรับประเทศที่ร่ำรวยได้ให้คำมั่นที่จะสนับสนุนทุน สูงถึง 1 แสนล้าน USD ภายในปี 2020 เพื่อช่วยเหลือประเทศยากจน แต่อย่างไรก็ตาม จากข้อมูลล่าสุดเพิ่งมีการสนับสนุนเงินทุนไปเพียงราว 79,000 ล้าน USD

ในปี 2018 เงินทุนราว 3 ใน 4 ส่วนเป็นการสนับสนุนในรูปแบบการให้กู้ยืม ซึ่งเงินทุนเพื่อการกู้ยืมนี้เป็นอุปสรรคต่อประเทศยากจน ซึ่งหลายประเทศมีภาวะเป็นหนี้อยู่แล้ว ประเด็นนี้ เรียกว่า “𝒄𝒍𝒊𝒎𝒂𝒕𝒆 𝒇𝒊𝒏𝒂𝒏𝒄𝒆” ซึ่งเป็นประเด็นใหญ่ที่จะต้องถกกันในการประชุมครั้งนี้

𝐖𝐡𝐚𝐭 𝐰𝐨𝐮𝐥𝐝 𝐬𝐮𝐜𝐜𝐞𝐬𝐬 𝐚𝐭 𝐂𝐎𝐏𝟐𝟔 𝐥𝐨𝐨𝐤 𝐥𝐢𝐤𝐞?
มีความคาดหวังอย่างมากถึงความก้าวหน้าอย่างมีนัยสำคัญสำหรับการต่อต้านการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิจากผลของการประชุม COP26 ประเทศร่ำรวยจะถูกร้องขอการให้คำมั่นสำหรับการสนับสนุนเงินทุน 1 แสนล้าน USD จากที่เคยได้ให้คำมั่นไว้ก่อนหน้านี้ และความตกลงสำหรับทุกประเทศในโลกสำหรับการลดการพึ่งพาพลังงานถ่านหิน ถึงแม้ว่าจะเป็นเรื่องยากก็ตาม

นอกจากนี้ยังจะมีการเพิ่มแรงกดดันสำหรับทุกๆ ประเทศ ที่จะต้องเพิ่มความทะเยอทะยานของเป้าหมายที่ไม่เพียงแต่การลดก๊าซเรือนกระจก แต่ยังครอบคลุมถึงการให้ความช่วยเหลือต่อประชาคมและประเทศอื่นๆ ที่ได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ที่มา: https://bbc.in/3g0ypwz 

ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดเชียงใหม่) รายงานผลการปฏิบัติงานวันที่ 13 สิงหาคม พ.ศ.2564

รายงานผลการปฏิบัติงานวันที่ 13 สิงหาคม พ.ศ.2564
ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดเชียงใหม่)

นายจักรกฤษณ์ หล้าแก้ว
หัวหน้าศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้ฯ รายงาน

รายงานผลการปฏิบัติงานวันที่12สิงหาคม 2564 ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ระดับพื้นที่ (จังหวัดแพร่) รายงานผลการปฏิบัติงานวันที่ 12 สิงหาคม 2564

รายงานผลการปฏิบัติงานวันที่ 12 สิงหาคม 2564 รายงานผลการปฏิบัติงานวันที่12สิงหาคม 2564 ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ระดับพื้นที่ (จังหวัดแพร่) กลุ่มงานวิชาการ สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 13 (แพร่)
1.ร่วมกับชุมชนในพื้นที่ปลูกป่าในวันแม่แห่งชาติ ณโครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูแหล่งน้ำห้วยริน หมู่1ต.สะเอียบ อ.สอง จ.แพร่
2.ถอนวัชพืชแปลงเพาะเมล็ดสัก ในพื้นที่ศูนย์ขับเคลื่อนฯนายมงคล ทิพย์โพธิ์
หัวหน้าศูนย์ขับเคลื่อนฯ
รายงาน

ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดเชียงใหม่) รายงานผลการปฏิบัติงานประจำวันที่ 11 สิงหาคม พ.ศ.2564

รายงานผลการปฏิบัติงานประจำวันที่ 11 สิงหาคม พ.ศ.2564
ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดเชียงใหม่)
– สนับสนุนกล้าไม้ให้แก่ราษฎรในพื้นที่อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ ต.บ้านหลวง อ.จอมทอง จ.เชียงใหม่ ได้แก่ มะไฟ‚ลูกพลับ ‚ต้นสัก‚มะขามป้อม‚ผักหวานบ้าน และกาแฟ
– ร่วมกับเครือข่ายฯบ้านเมืองอางพัฒนาทางเข้าหมู่บ้าน และบำรุงรักษาต้นไม้ที่ปลูกริมถนนทางเข้าหมู่บ้านเมืองอาง ม.9 ต.บ้านหลวง อ.จอมทอง จ.เชียงใหม่

นายจักรกฤษณ์ หล้าแก้ว
หัวหน้าศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้ฯ รายงาน

ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดสกลนคร) รายงานผลการปฎิบัติงานประจำวันที่ 11 สิงหาคม พ.ศ.2564

ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดสกลนคร) รายงานผลการปฎิบัติงานประจำวันที่ 11 สิงหาคม พ.ศ.2564

นางสาวอรฤดี มณีทอง นักวิชาการป่าไม้ชำนาญการ รายงาน

ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดสกลนคร) รายงานผลการปฎิบัติงานประจำวันที่ 10 สิงหาคม พ.ศ.2564

ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดสกลนคร) รายงานผลการปฎิบัติงานประจำวันที่ 10 สิงหาคม พ.ศ.2564

นางสาวอรฤดี มณีทอง นักวิชาการป่าไม้ชำนาญการ รายงาน

ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดเชียงใหม่) รายงานผลการปฏิบัติงานประจำวันที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2564

ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดเชียงใหม่) รายงานผลการปฏิบัติงานประจำวันที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2564

นายจักรกฤษณ์ หล้าแก้ว

ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ระดับพื้นที่ (จังหวัดแพร่) รายงานผลการปฏิบัติงานประจำ วันที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2564

รายงานผลการปฏิบัติงานประจำ วันที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2564
ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ระดับพื้นที่ (จังหวัดแพร่) กลุ่มงานวิชาการ สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 13 (แพร่)

  1. แผ้วถางวัชพืชในพื้นที่ศูนย์ขับเคลื่อนฯ
  2. ถอนวัชพืชแปลงเพาะเมล็ดสัก

นายมงคล ทิพย์โพธิ์
หัวหน้าศูนย์ขับเคลื่อนฯ/รายงาน