ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดแพร่)

ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดแพร่)
รายงานผลการปฏิบัติงานระหว่างวันที่ 16-30 เมษายน 2565

  1. ตรวจสอบติดตามการเพาะกล้าไม้ในเรือนเพาะชำ
  2. ดูแลแปลงเพาะเมล็ดสัก พร้อมถอน/ตัดแต่ง และเพาะลงถุงดำ
  3. แผ้วถาง/ตัดหญ้า ในบริเวณพื้นที่ศูนย์ขับเคลื่อนฯ
  4. ติดตาม ตรวจสอบ แปลงสาธิตของศูนย์ขับเคลื่อนฯ ที่ปลูกไม้ชนิดต่างๆ เมื่อปี พ.ศ. 2564 เพื่อเตรียมการกำจัดวัชพืชในโอกาสต่อไป

นายมงคล ทิพย์โพธิ์
หัวหน้าศูนย์ขับเคลื่อนฯ
รายงาน

ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดสกลนคร) รายงานผลการปฎิบัติงานประจำวันที่ 14 กันยายน พ.ศ.2564

ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดสกลนคร) รายงานผลการปฎิบัติงานประจำวันที่ 14 กันยายน พ.ศ.2564

  1. เจ้าหน้าที่เข้าแถวเคารพธงชาติ สวดมนต์ไหว้พระ
  2. พัฒนา​ศูนย์​ขับเคลื่อน​และ​เรียนรู้​การ​เปลี่ยน​แปลง​สภาพ​ภูมิอากาศ​ภาค​ป่าไม้​ และดูแลบำรุง​รักษา​กล้าไม้​ในเรือนเพาะ​ชำ​
    3.ดำเนินการจัดเก็บข้อมูล​ไม้ใหญ่​ ไม้หนุ่ม และกล้าไม้ แปลงตัวอย่าง​ประจำปี 2564
  3. บันทึก​และจัดทำฐานข้อมูล​การ​ปลูก​ต้นไม้​ประจำ​ปี 2564

นางสาวอรฤดี มณีทอง นักวิชาการป่าไม้ชำนาญการ รายงาน

ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดสกลนคร) รายงานผลการปฎิบัติงานประจำวันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ.2564

ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดสกลนคร) รายงานผลการปฎิบัติงานประจำวันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ.2564

  1. เจ้าหน้าที่เข้าแถวเคารพธงชาติ สวดมนต์ไหว้พระ
  2. พัฒนา​ศูนย์​ขับเคลื่อน​และ​เรียนรู้​การ​เปลี่ยน​แปลง​สภาพ​ภูมิอากาศ​ภาค​ป่าไม้​ และดูแลบำรุง​รักษา​กล้าไม้​ในเรือนเพาะ​ชำ​
  3. ดำเนินการจัดเก็บข้อมูล​ไม้ใหญ่​ ไม้หนุ่ม และกล้าไม้ แปลงตัวอย่าง​ประจำปี 2564
  4. ปรับปรุง​เส้นทางศึกษา​ธรรมชาติ​ภายใน​ศูนย์​ขับเคลื่อน​และ​เรียนรู้​การ​เปลี่ยน​แปลง​สภาพ​ภูมิอากาศ​ภาค​ป่าไม้​
  5. เจ้าหน้าที่​เข้ารับ​การฉีดวัคซีน​ COVIC-19 ณ โรงพยาบาล​กุดบาด จังหวัด​สกลนคร

นางสาวอรฤดี มณีทอง นักวิชาการป่าไม้ชำนาญการ รายงาน

ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดสกลนคร) รายงานผลการปฎิบัติงานประจำวันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ.2564

ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดสกลนคร) รายงานผลการปฎิบัติงานประจำวันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ.2564

  1. เจ้าหน้าที่เข้าแถวเคารพธงชาติ สวดมนต์ไหว้พระ
  2. พัฒนา​ศูนย์​ขับเคลื่อน​และ​เรียนรู้​การ​เปลี่ยน​แปลง​สภาพ​ภูมิอากาศ​ภาค​ป่าไม้​ และดูแลบำรุง​รักษา​กล้าไม้​ในเรือนเพาะ​ชำ​
  3. วัดความโต ความสูง และจับพิกัดต้นไม้​ที่ปลูกในพื้นที่ตามมติคณะรัฐมนตรี​ เมื่ิอวันที่ 30 มิถุนายน 2541 รายนายทองสา ศิริรัญ
  4. บันทึก​และจัดทำฐานข้อมูล​การปลูกต้นไม้​ประจำปี 2564
  5. เจ้าหน้าที่​เข้ารับ​การฉีดวัคซีน​ COVIC-19 ณ โรงพยาบาล​กุดบาด จังหวัด​สกลนคร

นางสาวอรฤดี มณีทอง นักวิชาการป่าไม้ชำนาญการ รายงาน

ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ระดับพื้นที่ (จังหวัดตาก) สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 14 (ตาก)

ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ระดับพื้นที่ (จังหวัดตาก) สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 14 (ตาก)

  1. พัฒนาพื้นที่บริเวณที่ทำการศูนย์ขับเคลื่อนฯ
  2. แจกกล้าไม้ให้สมาชิกผู้เข้าร่วมโครงการปลูกต้นไม้ในพื้นทำกิน บ้านกุยเคล๊อะ และบ้านมอทะ จำนวน 400 ต้น ได้แก่ สัก 200 ต้น ยางแดง 100 ต้น ไผ่หก 40 ต้น แดง 20 ต้น หว้า 20 ต้น มะไฟ 20 ต้น

นายภิรมย์ พวงสุมาลย์ รายงาน

ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดสกลนคร) รายงานผลการปฎิบัติงานประจำวันที่ 27 สิงหาคม พ.ศ.2564

ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดสกลนคร) รายงานผลการปฎิบัติงานประจำวันที่ 27 สิงหาคม พ.ศ.2564

  1. เจ้าหน้าที่ศูนย์​ขับเคลื่อน​และ​เรียนรู้​การ​เปลี่ยน​แปลง​สภาพ​ภูมิอากาศ​ภาค​ป่าไม้​ ให้การต้อนรับ​และนำคณะ​อาจารย์​จากมหาวิทยาลัย​เทคโนโลยี​ราช​มงคล​อีสาน​ วิทยา​เขตสกลนคร​ เข้าเยี่ยมชอมแปลงตัวอย่างของชาวบ้านที่สมัคร​ใจ ร่วมปลูกต้นไม้​ แปลงรายนางอรพิน ศิหิรัญ
  2. แจกกล้าไม้​หวายให้กับชาวบ้านที่ร่วมปลูกต้นไม้กับโครงการ​ฯ
  3. พัฒนา​ศูนย์​ขับเคลื่อน​และ​เรียนรู้​การเ​ปลี่​ยนแปลง​สภาพ​ภูมิอากาศ​ภาค​ป่าไม้​ และดูแลบำรุง​รักษา​กล้าไม้​ใน​เรือน​เพาะ​ชำ

นางสาวอรฤดี มณีทอง นักวิชาการป่าไม้ชำนาญการ รายงาน

รายงานผลการปฏิบัติงานประจำ วันที่ 24 – 31 สิงหาคม พ.ศ.2564 ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ระดับพื้นที่ (จังหวัดแพร่) กลุ่มงานวิชาการ สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 13 (แพร่)

รายงานผลการปฏิบัติงานประจำ วันที่ 24 – 31 สิงหาคม พ.ศ.2564
ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ระดับพื้นที่ (จังหวัดแพร่) กลุ่มงานวิชาการ สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 13 (แพร่)

  1. แจกจ่ายกล้าไม้ให้แก่ชุมชนเป้าหมาย
  2. ดูแลแปลงเพาะชำและแปลงเพาะเมล็ดสัก
  3. ตัดหญ้าและกำจัดวัชพืชแปลงปลูกต้นไม้ (Tree) ศูนย์สาธิตฯ
  4. ติดตามการปลูกป่าของชุมชนเป้าหมาย

นายมงคล ทิพย์โพธิ์
หัวหน้าศูนย์ขับเคลื่อนฯ/รายงาน

ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดตาก) รายงานการดำเนินกิจกรรม

รายงานการดำเนินกิจกรรม
ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดตาก)

  1. กำจัดวัชพืชในเรือนเพาะชำของศูนย์ขับเคลื่อนฯ
  2. เพาะกล้ากาแฟ (อาราบิก้า) และกระท้อน รวมจำนวน 650 ต้น

นายภิรมย์ พวงสุมาลย์
รายงาน

ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดแพร่) กลุ่มงานวิชาการ สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 13 (แพร่) รายงานผลการปฏิบัติงานวันที่ 23 สิงหาคม พ.ศ.2564

รายงานผลการปฏิบัติงานวันที่ 23 สิงหาคม พ.ศ.2564
ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดแพร่) กลุ่มงานวิชาการ สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 13 (แพร่)

  1. แจกจ่ายกล้าไม้ให้แก่ชุมชนเป้าหมาย
  2. ตัดหญ้าแปลงปลูกต้นไม้ (Tree) ศูนย์สาธิตฯ
  3. ถอนวัชพืชแปลงเพาะเมล็ดสัก

นายมงคล ทิพย์โพธิ์
หัวหน้าศูนย์ขับเคลื่อนฯ / รายงาน

ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ระดับพื้นที่ (จังหวัดแพร่) กลุ่มงานวิชาการ สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 13 (แพร่) รายงานผลการปฏิบัติงานประจำวันที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2564

รายงานผลการปฏิบัติงานประจำวันที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2564
ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ระดับพื้นที่ (จังหวัดแพร่) กลุ่มงานวิชาการ สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 13 (แพร่)

  1. แจกจ่ายกล้าไม้ให้แก่ชุมชนเป้าหมาย
  2. ติดตามงานปลูกป่าศูนย์สาธิตฯ
  3. ตกแต่งสถานที่ โดยทำค้างต้นเล็บมือนางบริเวณทางเข้าศูนย์ขับเคลื่อนฯ

นายมงคล ทิพย์โพธิ์
หัวหน้าศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้/รายงาน

ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ระดับพื้นที่ (จังหวัดแพร่) กลุ่มงานวิชาการ สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 13 (แพร่) รายงานการปฎิบัติงานประวันที่ 19 สิงหาคม พ.ศ.2564

ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ระดับพื้นที่ (จังหวัดแพร่) กลุ่มงานวิชาการ สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 13 (แพร่)

  1. แจกจ่ายกล้าไม้ให้แก่ชุมชนเครือข่ายเป้าหมาย
  2. ตัดหญ้าแปลงปลูกไม้ยืนต้น (Tree) ในพื้นที่ศูนย์สาธิต
  3. ปลูกกล้วยน้ำหว้าเพิ่มเติม ในพื้นที่ศูนย์ขับเคลื่อนฯ
  4. ปลูกไม้ประดับ (จันทร์ผา) ตลอดแนว พื้นที่ศูนย์ขับเคลื่อนฯ เส้นทางสาย อำเภอสอง จังหวัดแพร่ ถึง อำเภอเชียงม่วน จังหวัดพะเยา

นายมงคล ทิพย์โพธิ์
หัวหน้าศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้/รายงาน

ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดแพร่) กลุ่มงานวิชาการ สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 13 (แพร่) รายงานผลการปฏิบัติงานวันที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2564

รายงานผลการปฏิบัติงานวันที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2564
ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (จังหวัดแพร่) กลุ่มงานวิชาการ สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 13 (แพร่)

  1. แจกจ่ายกล้าไม้ให้แก่ชุมชนเป้าหมาย
  2. ตัดหญ้าบริเวณแปลงปลูกไม้ยืนต้น (Tree) ในพื้นที่ศูนย์สาธิต
  3. ปลูกไม้ผล (มะม่วงหิมพานต์) แซมไม้ยืนในพื้นที่ศูนย์สาธิต

นายมงคล ทิพย์โพธิ์
หัวหน้าศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้ฯ/รายงาน

เมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม 2563 กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช โดยกองการต่างประเทศ ได้จัดส่งครุภัณฑ์อุปกรณ์การเกษตร ให้กับศูยน์ขับเคลื่อนและเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ ระดับพื้นที่ (แพร่)

เมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม​2563 กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช โดยกองการต่างประเทศ ได้จัดส่งครุภัณฑ์อุปกรณ์​การเกษตร​ ให้กับศูนย์​ขับเคลื่อน​และเรียนรู้​การเปลี่ยนแปลง​สภาพ​ภูมิอากาศ​ภาค​ป่าไม้​ ระดับ​พื้นที่ (แพร่)​ ดังนี้
– ถังน้ำไฟเบอร์กลาส ขนาด 2,500 ลิตร จำนวน 4 ถัง
– เครื่องตัดหญ้าแบบข้อแข็ง จำนวน 2 เครื่อง
– เครื่องสูบน้ำพร้อมอุปกรณ์และท่อ จำนวน 1 เครื่อง พร้อมทั้งฝากครุภัณฑ์จากกองการต่างประเทศให้ผู้รับจ้างนำมาส่งในคราวเดียวกัน คือ.
-Projetorจำนวน 1อัน
– mornitor จำนวน 1เครื่อง นำมาส่งที่ศูนย์ขับเคลื่อนฯ ต.สะเอียบ อ.สอง จ.แพร่
-​ สำหรับงานในหน้าที่ ได้ทำการเพาะชำกล้ายางนาและกรอกดินใส่ถุง

นายมงคล ทิพย์โพธิ์
หัวหน้า​ศูนย์ขับเคลื่อนและเรียนรู้​การเปลี่ยนแปลง​สภาพ​ภูมิอากาศ​ภาค​ป่าไม้​ ระดับพื้นที่ (แพร่)​

แนวทางการเพิ่มการกักเก็บคาร์บอน

การเพิ่มการกักเก็บคาร์บอน = เพื่อการกักเก็บคาร์บอนในพื้นที่เป็นป่าและเพิ่มการกักเก็บคาร์บอนในพื้นที่อื่นที่เปลี่ยนเป็นพื้นที่ (IPCC definition)

ประชุมคณะกรรมการกำกับการดำเนินงานโครงการเตรียมความพร้อมต่อกลไกเรดด์พลัส (Readiness Preparation Proposal: R-PP) ครั้งที่1/2561

เมื่อวันที่ 12 มกราคม 2561 สำนักงานการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ กองการต่างประเทศ ได้จัดการประชุมคณะกรรมการกำกับการดำเนินงานโครงการเตรียมความพร้อมต่อกลไกเรดด์พลัส (Readiness Preparation Proposal: R-PP) ครั้งที่1/2561 ณ ห้องประชุม ชั้น 2 อาคารH.A.Slade กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช โดยมีนายปิ่นสักก์ สุรัสวดี รองอธิบดีกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช เป็นประธานที่ประชุม มีผู้เข้าร่วมประชุมประกอบด้วย ผู้แทนสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ ผู้แทนสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ผู้แทนกรมป่าไม้ ผู้แทนกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ผู้แทนสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ผู้แทนองค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ ผู้แทนองค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน) ผู้แทนสำนักความร่วมมือด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมระหว่างประเทศ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และผู้แทนจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องของกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ได้แก่ สำนักแผนงานและสารสนเทศ สำนักป้องกัน ปราบปรามและควบคุมไฟป่า สำนักฟื้นฟูและพัฒนาพื้นที่อนุรักษ์ สำนักอุทยานแห่งชาติ สำนักอนุรักษ์สัตว์ป่า และกองการต่างประเทศ ซึ่งเป็นเลขานุการเข้าร่วมประชุม ที่ประชุมได้รับทราบความก้าวหน้าของการดำเนินโครงการเตรียมความพร้อมต่อกลไกเรดด์พลัส และพิจารณาให้ข้อคิดเห็นในเรื่องของแผนการดำเนินการและแผนการใช้จ่ายเงินประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 – 2563 ของโครงการฯ   การจัดจ้างที่ปรึกษาเพื่อพัฒนาระดับอ้างอิง/ระดับการปล่อยอ้างอิงภาคป่าไม้ และระบบการตรวจติดตาม การรายงาน และการทวนสอบ การแต่งตั้งคณะทำงานกำกับด้านวิชาการเพื่อการจัดทำยุทธศาสตร์เรดด์พลัสของประเทศ และการประเมินผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมและสังคมเชิงยุทธศาสตร์ การแต่งตั้งคณะทำงานกำกับด้านวิชาการการจัดทำยุทธศาสตร์การสื่อสาร และการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารด้านเรดด์พลัส และคณะทำงานกำกับด้านวิชาการการพัฒนาระดับอ้างอิง/ระดับการปล่อยอ้างอิงภาคป่าไม้ และระบบการตรวจวัด การรายงาน และการทวนสอบ