กิจกรรม/การดำเนินงาน | ปีงบประมาณ | หมายเหตุ | |||
2557 | 2558 | 2559 | 2560 | ||
เพิ่มศักยภาพในการศึกษาและวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ | |||||
1. การประเมินการกักเก็บคาร์บอนในพื้นที่ป่าอนุรักษ์ด้วยเทคนิคระยะไกล | 30 | ||||
2. การพัฒนาดัชนีบ่งชี้ทางชีวภาพ ( Bio-indicator) เพื่อบ่งชี้ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศต่อระบบนิเวศและความหลากหลายทางชีวภาพ | 40 | ||||
3. การพัฒนาแบบจำลองเพื่อประเมินผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศต่อระบบนิเวศและความหลากหลายทางชีวภาพ | 30 | ||||
4. การสำรวจและประเมินการกักเก็บคาร์บอนในพื้นที่ป่า | 45 | ||||
การหารือและระดมความคิดเห็น | |||||
1. การชี้แจงวิธีการสำรวจทรัพยากรป่าไม้ การกระจายของป่าแต่ละประเภท และการคัดเลือกชนิดไม้ที่สำคัญในการกักเก็บคาร์บอนในป่าแต่ละประเภท | 80 | ||||
2. การติดตามผลการดำเนินงาน การสำรวจและศึกษาการเปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศและการกักเก็บคาร์บอนในพื้นที่ป่า | 100 |
ปีงบประมาณ | พื้นที่ดำเนินการ | ผลการดำเนินการ | หมายเหตุ |
เริ่มปีงบ 2557
จนปัจจุบัน |
1. เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาสอยดาว จ.จันทบุรี สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 2 (ศรีราชา) | -แปลงตัวอย่างถาวรขนาด 40 x 40 ม. จำนวน 8 แปลงและขนาด 50 x 50 ม.จำนวน 1 แปลงในป่าสมบูรณ์มาก ปานกลางและน้อย อย่างละ 3 แปลง
-เก็บข้อมูลสังคมพืช สภาพอากาศ มวลชีวภาพเหนือพื้นดิน และคาร์บอนในดิน -เก็บข้อมูลต่อเนื่อง |
|
2. อุทยานแห่งชาติเขาหลวงและพื้นที่ใกล้เคียง จ.นครศรีธรรมราช
สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 5 (นครศรีธรรมราช) |
แปลงตัวอย่างถาวรขนาด 40 x 40 ม. จำนวน 15 แปลงในป่าสมบูรณ์มาก ปานกลางและน้อย อย่างละ 5 แปลง
-เก็บข้อมูลสังคมพืช สภาพอากาศ มวลชีวภาพเหนือพื้นดิน -เก็บข้อมูลต่อเนื่อง |
||
3. ป่าบ้านนาหว้า จ.อุบลราชธานี สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 9 (อุบลราชธานี) | แปลงตัวอย่างถาวรขนาด 40 x 40 ม. จำนวน 15 แปลงในป่าสมบูรณ์มาก ปานกลางและน้อย อย่างละ 5 แปลง
-เก็บข้อมูลสังคมพืช สภาพอากาศ มวลชีวภาพเหนือพื้นดิน และคาร์บอนในดิน -เก็บข้อมูลต่อเนื่อง |
||
4. เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าอุ้มผาง จ.ตาก สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 14 (ตาก) | แปลงตัวอย่างถาวรขนาด 40 x 40 ม. จำนวน 10 แปลงในป่าสมบูรณ์ปานกลางและน้อย อย่างละ 5 แปลง และขนาด 50x 50 ม.ในป่าสมบูรณ์มากจำนวน 5 แปลง
-เก็บข้อมูลสังคมพืช สภาพอากาศ มวลชีวภาพเหนือพื้นดิน -เก็บข้อมูลต่อเนื่อง |
||
5. เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าดอยเชียงดาว จ.เชียงใหม่ สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 16 (เชียงใหม่) | แปลงตัวอย่างถาวรขนาด 40 x 40 ม. จำนวน 15 แปลงในป่าสมบูรณ์มาก ปานกลางและน้อย อย่างละ 5 แปลง
-เก็บข้อมูลสังคมพืช สภาพอากาศ มวลชีวภาพเหนือพื้นดิน -เก็บข้อมูลต่อเนื่อง |
||
6. อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ จ.เชียงใหม่ (ป่าเต็งรัง อ.จอมทอง )
สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 16 (เชียงใหม่) |
แปลงตัวอย่างถาวรขนาด 40 x 40 ม. จำนวน 13 แปลงและขนาด 50 x 50 ม. จำนวน 2 แปลง ในป่าสมบูรณ์มาก ปานกลางและน้อย อย่างละ 5 แปลง
-เก็บข้อมูลสังคมพืช สภาพอากาศ มวลชีวภาพเหนือพื้นดิน -เก็บข้อมูลต่อเนื่อง |
||
2558 | 7. อุทยานแห่งชาติเอราวัณ จ.กาญจนบุรี สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 3 (บ้านโป่ง) | แปลงตัวอย่างถาวรขนาด 40 x 40 ม. จำนวน 9 แปลง ในป่าสมบูรณ์มาก ปานกลางและน้อย อย่างละ 3 แปลง
-เก็บข้อมูลสังคมพืช สภาพอากาศ มวลชีวภาพเหนือพื้นดินและคาร์บอนในดิน -เก็บข้อมูลต่อเนื่อง |
|
8. เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาบรรทัด จ.พัทลุง สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 6 (สงขลา) | แปลงตัวอย่างถาวรขนาด 40 x 40 ม. จำนวน 7 แปลงและแปลงขนาด 50 x 50 ม จำนวน 2 แปลงในป่าสมบูรณ์มาก ปานกลางและน้อย อย่างละ 3 แปลง
-เก็บข้อมูลสังคมพืช สภาพอากาศ มวลชีวภาพเหนือพื้นดิน -เก็บข้อมูลต่อเนื่อง |
||
2559 | 9. อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ จ.เชียงใหม่ (ป่าเต็งรังและป่าดงดิบเขา อ.แม่แจ่ม) สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 16 (เชียงใหม่) | แปลงตัวอย่างถาวรขนาด 40 x 40 ม. จำนวน 9 แปลง ในป่าสมบูรณ์มาก ปานกลางและน้อย อย่างละ 3 แปลง
-เก็บข้อมูลสังคมพืช สภาพอากาศ มวลชีวภาพเหนือพื้นดิน -เก็บข้อมูลต่อเนื่อง |
หมายเหตุ การวิเคราะห์ข้อมูลจะมีการวิเคราะห์ในเรื่องของข้อมูลทั่วไป ข้อมูลไม้ต้น สภาพภูมิอากาศในพื้นที่ที่ศึกษา มวลชีวภาพเหนือพื้นดิน มวลชีวภาพของซากพืช ปริมาณซากพืชที่ร่วงหล่น และติดตามการเปลี่ยนแปลงในทุกระยะ 5 ปี
1.เก็บข้อมูลต่อเนื่อง
2.จัดเก็บข้อมูลคาร์บอนในดินในปีงบประมาณ 2560 ในพื้นที่ของสำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 5,6,14 และ16
3.จัดทำแผนสำรวจเพิ่มเติมในพื้นที่ของ สบอ.10 (อุดรธานี)
4.ตรวจเอกสาร รวบรวมข้อมูลสมการและค่า Emission Factor ที่มีการดำเนินการอยู่แล้วเพื่อทบทวนความเหมาะสมและถูกต้องในการเป็นตัวแทนในการประเมินการกักเก็บคาร์บอน เพื่อใช้ในการวางแผนพัฒนาให้สมบูรณ์ต่อไป
5.การประชุมเพื่อนำเสนอความก้าวหน้า ความถูกต้อง และวิเคราะห์แนวทางการดำเนินการต่อไปประมาณเดือนมิถุนายน 2560